บริษัทคลินิคจิต-ประสาท |
|
แบบบันทึกการสังเกตการณ์การให้คำปรึกษาศิริราชSiriraj Medical Counseling ChecklistTrainee .. Patient Initial .. Trainer .. Date . A. เริ่มต้น opening1. ทักทาย/สร้างความคุ้นเคย greeting, calibration ( )มี ( )ไม่มี2. แนะนำตนเองและขั้นตอน introduction : who,why ( )มี ( )ไม่มี3 ท่าทีผ่อนคลาย self comfort ( )มี ( )ไม่มี4. ใส่ใจต่อความสุขสบายของผู้ป่วย attends to patient comfort ( )มี ( )ไม่มี5. สิ่งแวดล้อม environmental manipulation ( ) เหมาะสม ( )ไม่เหมาะสม6. สอบถามความเข้าใจผู้ป่วย seeks counselees understanding ( )มี ( )ไม่มี7. ให้ความมั่นใจในการเก็บข้อมูลเป็นความลับ confidentiality ( )มี ( )ไม่มี B. เข้าใจประเด็นปัญหา identification of problem1. ถามถึงปัญหาต่างๆ problem survey ( )มี ( )ไม่มี2. จัดลำดับความสำคัญ negotiates priorities ( )มี ( )ไม่มี3. ติดตามเรื่องราวอย่างต่อเนื่อง maintains a narrative thread ( )มี ( )ไม่มี 4. สำรวจลงลึก uses cone format ( )มี ( )ไม่มี5. ทำความเข้าใจปัญหาให้กระจ่าง uses clarification ( )มี ( )ไม่มีC.ตั้งเป้าหมาย goal setting:1. เลือกปัญหาที่แท้จริงที่ต้องการ problem identification ( )มี ( )ไม่มีการสรุปและนำสู่ประเด็น transition of topic ( )มี ( )ไม่มีการดึงเข้าประเด็นที่แท้จริง redirection of topic ( )มี ( )ไม่มี2. สร้างแรงจูงใจ establishs the motivation ( )มี ( )ไม่มี3. กำหนดเป้าหมายร่วมกัน chooses the appropriate problem ( )มี ( )ไม่มี D. การแก้ปัญหา problem solving 1. การใช้คำถาม questioning ( )เหมาะสม ( )ไม่เหมาะสม 2. การฟัง listening ( )มาก ( ) น้อย ( )เหมาะสม ( )ไม่เหมาะสม 3. การให้ข้อมูลทางการแพทย์ medical facts ( )มี ( )ไม่มี ( )เหมาะสม ( )ไม่เหมาะสม4. ใช้ภาษาเข้าใจง่าย simple and easy to understand informations ( )มี ( )ไม่มี เป็นประโยชน์ useful ( )มาก ( ) น้อยถูกต้อง correct ( )มาก ( ) น้อยเหมาะสม relevant ( )มาก ( ) น้อยเพียงพอ adequate ( )มาก ( ) น้อย5. เสนอทางเลือก shares possible solutions ( )มี ( )ไม่มี6. หารือข้อดีข้อเสีย discusses advantages and disadvantages ( )มี ( )ไม่มี7. การให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วม lets counselee make his\her own decision ( )มี ( )ไม่มี8. การให้ความหวัง shows hope ( )มี ( )ไม่มี ( )เหมาะสม ( )ไม่เหมาะสม 9. สรุปเป็นระยะ segment summary ( )มี ( )ไม่มี ( )เหมาะสม ( )ไม่เหมาะสมE. การจบการสนทนา closing1. เปิดโอกาสให้ถาม asks for questions ( )มี ( )ไม่มี2. แสดงความชื่นชม shows appreciation ( )มี ( )ไม่มี3. การนัดหมายติดตาม follow up plan ( )มี ( )ไม่มีF. ทักษะตลอดกระบวนการ counseling techniques1.การส่งเสริมการสื่อสาร facilitation skillsการสบตา eye contact ( )มี ( )ไม่มี ( )เหมาะสม ( )ไม่เหมาะสมท่าทาง posture, facial expression ( )มี ( )ไม่มี ( )เหมาะสม ( )ไม่เหมาะสมการสัมผัส touch ( )มี ( )ไม่มี ( )เหมาะสม ( )ไม่เหมาะสมการใช้ภาษา verbal communication ( )เหมาะสม ( )ไม่เหมาะสมการใช้ความเงียบ uses silence ( )มี ( )ไม่มี ( )เหมาะสม ( )ไม่เหมาะสมการสื่อสารสองทาง two way communication ( )มี ( )ไม่มีการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ mutual participation ( )มี ( )ไม่มี2. การสร้างความสัมพันธ์ relationship skillsมีส่วนร่วมในความรู้สึก shares of feeling ( )มี ( )ไม่มี การสะท้อนความรู้สึก acknowledges/ reflects the feeling ( )มี ( )ไม่มีมีส่วนร่วมในความคิด shares of thinking ( )มี ( )ไม่มีการสะท้อนความคิด reflects the thought ( )มี ( )ไม่มี การให้กำลังใจ supports ( )มี ( )ไม่มี ( )เหมาะสม ( )ไม่เหมาะสมความเข้าใจความรู้สึก empathy ( )มี ( )ไม่มีท่าทีเป็นกลาง/ไม่ตัดสินผิดถูก nonjudgmental,neutral ( )มี ( )ไม่มีท่าทางเข้าใจ understanding ( )มี ( )ไม่มี ยอมรับ unconditional positive regard, accepts the counselee ( )มี ( )ไม่มี
ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. การประเมินตนเอง................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... Adapted from the Brown Interview Checklist Brown University 1991 ฺฺBy Dr. Panom Ketumarn MD. and Dr. Sirirat Kooptiwut MD. Faculty of Medicine Siriraj Hospital Mahidol university 2001
คู่มือการใช้ Medical Counseling Checklist (MCC)
คู่มือ Medical Counseling Checklist เป็นคู่มือที่ใช้กับ Medical Counseling Checklist ก่อนใช้ควรอ่านคำแนะนำในคู่มืออย่างละเอียด ผู้ถูกประเมินควรมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการให้คำปรึกษา (counseling) คำแนะนำ1. Medical Counseling Checklist เป็นเครื่องมือที่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประเมินกระบวนการ การให้คำปรึกษา (counseling process) การประเมินสามารถทำได้สองรูปแบบ คือ 1.1 การประเมินตนเอง (Self Feedback) 1.2 การประเมินโดยวิทยากรหรือครูฝึก (Trainers Feedback) 2 การประเมินตนเอง ผู้ประเมินใช้ MCC เป็นแนวทางในการทบทวนพฤติกรรมของตนเองในขณะให้คำปรึกษา และประเมินตามความเป็นจริง และพยายามเสนอแนะตนเองในสิ่งที่คาดว่าน่าจะพัฒนาขึ้น ควรประเมินตนเองทันทีหลังจากเสร็จสิ้นการให้คำปรึกษาในแต่ละครั้ง 3 ทางเลือก : ผู้ประเมินตนเองบันทึกแถบวีดิทัศน์ หรือเทปเสียงการให้คำปรึกษา (ขออนุญาตผู้รับคำปรึกษาก่อน) และนำเทปมาดูภายหลังพร้อมกับประเมินตนเองตามแนวทางของ MCC
การประเมินโดยวิทยากรหรือครูฝึกผู้ประเมิน (Trainer) ควรเริ่มต้นดังนี้ 1. มีการตกลงกันก่อนกับผู้ถูกประเมินหรือผู้รับการฝึก (Trainee) ว่า จะมีการประเมินพฤติกรรมของ Trainee การประเมินนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกเป็นการเรียนรู้ในกระบวนการให้คำปรึกษา 2. ผู้ประเมิน อธิบายถึงประโยชน์ของการ Feedback วิธีการและเนื้อหาที่จะ Feedback เพื่อวัตถุประสงค์จะพัฒนาการให้คำปรึกษาให้ดีขึ้น 3. ผู้ประเมินแจก MCC ให้ผู้ถูก Feedback ศึกษาและทำความเข้าใจ อธิบายความหมายของหัวข้อต่าง ๆ 4. ผู้ประเมินสังเกตการณ์การให้คำปรึกษาอย่างละเอียด จดบันทึกพฤติกรรมที่จะนำมา Feedback หรือ บันทึกเทป (โดยขออนุญาตผู้ป่วยก่อน) และประเมินใน MCC ทันทีหลังเสร็จสิ้นกระบวนการการให้คำปรึกษา 5. ผู้ประเมินให้ Feedback ทันทีหลังการให้คำปรึกษาโดยดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้
5.1 สอบถามผู้ถูกประเมินว่า - คิดและรู้สึกอย่างไร ต่อการให้คำปรึกษาที่ผ่านไป - ข้อดีของตนเอง - ข้อเสียหรือข้อบกพร่อง หรือสิ่งที่ทำได้ไม่ดี - ถ้าแก้ไขใหม่ อยากจะกลับไปเปลี่ยนแปลงอะไร - ต้องการคำแนะนำตรงไหน 5.2 หยิบยกข้อดีของผู้ถูกประเมินที่เห็นชัด 2 3 ประเด็นหรือมากกว่านี้ 5.3 หยิบยกประเด็นที่น่าจะแก้ไข/พัฒนาที่ยังไม่ได้ถูกกล่าวถึงในข้อ 5.1 มา Feedback (ควรระวังในกรณีที่ Feedback เป็นกลุ่ม เนื่องจากบางเรื่องควร Feedback เป็นรายบุคคล) 5.4 ให้คำแนะนำในความคิดเห็นของ Trainer อธิบายว่าความเห็นหรือคำแนะนำนี้เป็นทางเลือกอีกแบบหนึ่งซึ่งอาจจะเป็นประโยชน์ต่อการให้คำปรึกษาในครั้งต่อๆ ไป อธิบาย ข้อดี/เสียของทางเลือกแบบต่าง ๆ 5.5 ยอมรับฟังเหตุผลของ Trainer แต่หลีกเลี่ยงการโต้เถียง หรือพยายามเอาชนะกัน 5.6 หยิบยกข้อดีของผู้ถูกประเมินมาให้กำลังใจและได้ทราบถึงศักยภาพด้านบวกของตนเอง 5.7 แสดงความรู้สึกที่ดีต่อผู้ถูกประเมิน - เชื่อว่าน่าจะทำได้ดียิ่งขึ้น - เห็นว่ามีการเรียนรู้ และรับฟัง - ชื่นชมที่แสดงท่าทีที่ดีต่อการ Feedback - หวังว่าจะนำสิ่งที่ได้รับจาก Feedback ไปใช้ในโอกาสต่อไป 5.8 จบการประเมินโดยให้ MCC ที่เขียนเรียบร้อยแล้วแก่ผู้ถูกประเมินเพื่อนำไปศึกษาด้วยตนเอง
|
คลินิคจิต-ประสาท 563 ถ.สามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กทม 10300 โทร. 0-2243-2142 0-2668-9435
ส่งเมล์ถึง
panom@psyclin.co.th พร้อมด้วยข้อสงสัยหรือข้อคิดเห็นเกี่ยวกับเว็บไซท์นี้
|